เสาร์. เม.ย. 27th, 2024

ประวัติ หลวงปู่โต๊ะ เทพเจ้าแห่งความเมตตา

ประวัติ หลวงปู่โต๊ะ เทพเจ้าแห่งความเมตตา ท่านเป็นชาวสมุทรสงคราม ถือกำเนิดในสกุลรัตนนครเกิด ที่บ้านใกล้คลองบางน้อย ตำบลบางพรม อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม โยมพ่อชื่อโยมลอยโยมแม่ชื่อ โยมทับเกิดเมื่อวันอังคารขึ้น 15 ค่ำเดือน 5

เดือน 5 ปีกุนตรงกับวันที่ 27 เดือนมีนาคมพุทธศักราช 2430 มีพี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกันรวม 2 ท่านโดยท่านเป็นคนโตก็คือท่านมีน้องชายคนหนึ่งชื่อนายเฉื่อยรัตนากร ซึ่งปัจจุบันถึงแก่กรรมไปแล้ว ลักษณะแห่งความเป็นผู้นำ ของท่านใดฉายแวว มาตั้งแต่เยาว์วัย เป็นที่ประจักษ์แก่บิดามารดาและญาติๆ ว่าท่านเป็นผู้มีความเข้มแข็งว่องไว ประจำนิสัยมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รู้แยกแยะผิดชอบชั่วดี ไม่เคยเลยสักครั้ง

ที่จะนำความหนักใจมาให้กับพ่อแม่ ชอบที่จะติดตามพ่อแม่ไปวัดอยู่เป็นประจำ เป็นผู้มีความกตัญญู มีความขยันมานะอดทนมีน้ำใจ เสียสละมีวาจาไพเราะสุภาพ อ่อนโยนจึงเป็นที่รักยิ่ง ของโยมพ่อโยมแม่ บางครั้งท่านมักจะแอบไปวัดเพียงลำพัง เพื่อฟังการสวดมนต์ ของพระภิกษุสามเณรจนถึงกับสามารถท่องจำได้อย่างแม่นยำ ในบางบทบางตอนและถึงแม้ท่าน จะเติบโตเข้าสู่วัยหนุ่มท่าน ก็หาได้มีจิตใจฝักใฝ่สตรีเพศเหมือนกับคนรุ่นเดียวกัน

ชีวิตในวัยเด็ก หลวงปู่โต๊ะ

อายุของท่านขณะนั้นได้ 13 ปีเศษครั้นเมื่อท่านมีอายุย่างเข้า 17 ปีก็ได้ทำการบัตรประชา เป็นสามเณรณวัดประดู่ฉิมพลี เมื่อปีพ.ศ 2477 โดยมีพระกันศพเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีในสมัยนั้น เป็นพระอุปัชฌาย์บันประชาได้วันเดียวพระอธิการสุข ซึ่งเป็นพระอุปชาและผู้อุปการะของท่านก็มรณภาพนายคล้ายนางพันธุ์ ซึ่งเป็นพี่ชายกับ พี่สะใภ้ของพระอธิการสุข แล้วก็มีบ้านอยู่ใกล้วัดประดู่ฉิมพลี จึงได้อุปการะท่านต่อมา

มาทันได้รับการบัตรประชา เป็นสามเณรท่านก็มีความขยันหมั่นเพียร ในการศึกษาพระปริยัติธรรม ต้องเรียนพระสูตรต่างๆ ได้อย่างแม่นยำ และว่องไวมีความประพฤติไม่เป็นที่หนักใจ แก่หมู่คณะสนใจใน การเจริญสมาธิกรรมฐาน อย่างมุ่งมั่นความในข้อนี้ พระอาจารย์พรหมพูดซึ่งอบรมสั่งสอนสมาธิกรรมฐาน ให้กับท่านในสมัยนั้นถึงกับกล่าว ไว้ว่าแทบทุกคืนจะเห็นสามเณรโต๊ะ หลบไปนั่งกรรมฐานเพียงลำพัง ในโบสถ์บางครั้งก็เห็นไปเดินจงกรม อยู่ในป่าริม คลองบางหลวงเพียงลำพัง พระอาจารย์พรหมยังได้เล่าอีกว่า สามเณรโต๊ะมักจะชอบเก็บตัวอยู่เงียบๆพูดน้อยแต่ช่างซักช่างถามในข้อธรรมต่างๆ ครั้งเมื่ออายุครบ 20 ปีท่านก็ได้อุปสมบท

เป็นพระภิกษุณพัทธสี มาวัดประดู่ฉิมพลี เมื่อวันอังคารเดือน 8 ขึ้น 7 ค่ำปีมะแมตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม 2450 เวลา 15.30 นโดยมีพระครูสมณธรรมสมาทาน แสงวัดปากน้ำภาษีเจริญ เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูอัครานุศิษย์ ผ่องวัดนวลนรดิศ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระครูธรรมวิรัตน์เชยวัดกำแพง เป็นอนุสาวนาจารย์ มีพี่ฉายาในพระพุทธศาสนา ว่ากินพระสุวัณโณมื่อท่าน ได้อุปสมบท แล้วท่านก็ได้ตั้งใจศึกษาและปฏิบัติตามหลักธรรมด้วย ความวิริยะอุตสาหะด้วยจิต ที่มุ่งหวังที่จะบรรลุสู่แดนเกษมต่อมา พระอธิการคำเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลีในสมัยนั้นได้ลาสิกขาบทออกไปท่าน จึงรับหน้าที่เป็นเจ้าอาวาส วัดประดู่ฉิมพลีเมื่อท่านมีอายุได้ 26 ปีพรรษาที่ 6 แล้วก็มีฐานานุกรม ที่พระใบฎีกาท่านได้รับภาระเป็นเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลี สืบมาจนกระทั่ง ถึงแก่การมรณภาพ และถึงท่านจะมีภาระหน้า ที่ในการปกครอง ส่งท่านก็ไม่ได้ย่อท้อต่อการศึกษาและการปฏิบัติ ทั้งคันขาดสุระ และวิปัสสนาธุระ

ศึกษาธรรม หลวงปู่โต๊ะ

ด้วยความมุมานะจนสอบได้ นักธรรมตรีได้เมื่อปีพ.ศ 2455 ครั้นเมื่อพระอาจารย์พรหมพูดถึง ให้การอบรมสมาธิกรรมฐาน แก่ท่านได้มรณภาพไปแล้วท่านก็ได้ออกแสวงหาศึกษา วิปัสสนากรรมฐานโดยในขั้นต้นท่าน ได้ออกจาริกธุดงค์ไปศึกษา กับพระอาจารย์รุ่งหรือ ว่าหลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือจังหวัดสมุทรสาครจากนั้นก็ได้ ไปศึกษาวิปัสสนากับหลวงพ่อโหน่งวัดอัมพวัน หรือว่าวัดคลองมะดันอำเภอสอง พี่น้องจังหวัดสุพรรณบุรีและได้ธุดงค์ไปทาง เหนืออีกหลายครั้งพร้อม ทั้งศึกษาวิปัสสนากรรมฐาน กับพระอาจารย์หลายต่อ หลายอาจารย์ด้วยกัน ซึ่งในระยะนั้นหลวงปู่ท่านไม่ค่อยได้อยู่วัดประดู่ฉิมพลี นอกจากเทศกาลเข้าพรรษา เมื่อออกพรรษาแล้วต่อจากนั้น ท่านก็ได้เดินธุดงค์ไปทางภาค ใต้แล้วก็ได้จำพรรษาอยู่ที่ปัตตานีจากนั้น ท่านก็เลยไปจำพรรษา อยู่ที่สิงคโปร์หลายปี

เมื่อหลวงปู่กลับมา จำพรรษาอยู่ที่วัดประดู่ฉิมพลี ตามเดิมแล้วท่านก็ได้สร้างรอย พระพุทธบาทจำลอง ซึ่งทำได้ไม้สักประดับมุก และได้นำไปประดิษฐานไว้ที่วัดในประเทศสิงคโปร์ อันนี้วัดอะไรจำชื่อวัดไม่ได้ แล้วปัจจุบันนี้รอยพระพุทธบาทจำลอง และกลายเป็นวัตถุโบราณไปแล้วเมื่อหลวงปู่โต๊ะ ได้อุปสมบทแล้วใหม่ๆได้มีโรคระบาดเกิดขึ้น ก็คือไข้ทรพิษหลวงปู่ท่าน เป็นโรคนี้เหมือนกันแล้วก็เป็นชนิดร้ายแรง ซะด้วยแทบจะเอาชีวิตไม่รอด เมื่อถึงเวลานอนต้องใช้ใบตอง รองนอนต่อจากนั้น ท่านได้ตักเอาน้ำ ขึ้นมาแล้วตั้งจิตอธิษฐาน ว่าถ้าจะมีชีวิตอยู่ก็ขอให้เกิดมีนิมิตเห็นพระถ้าจะไม่มีชีวิตอยู่ก็อย่าให้ได้เห็นพระอะไรเลย

และในคืนวันนั้นหลวงปู่ท่าน ก็ได้นิมิตไปว่าหลวงพ่อวัดบ้านแหลม ได้มาปราบพรมน้ำพระพุทธมนต์ ให้ร้านรุ่งเช้าท่านก็ได้นำเอาน้ำพระพุทธมนต์ที่ได้ตั้งจิตอธิษฐานไว้ทางศีรษะนอนขึ้นมาฉัน แล้วก็ปราบปรามอีกครั้งหนึ่งนับ แต่นั้นมาโรคดังกล่าวก็ทุเลา ตำแหน่งทางคณะสงฆ์นี่หลวงปู่ท่านได้บริหารวัดด้วย ความเที่ยงธรรมสม่ำเสมอ ประกอบด้วยเมตตาธรรมอนุเคราะห์ ให้ได้รับความร่มเย็นทั่วหน้า

ถวายสมณศักดิ์

ทางคณะสงฆ์ก็พร้อมใจกัน ถวายสมณศักดิ์ให้แก่ท่าน เป็นลำดับตั้งแต่ปี 2455 เป็นเจ้าอาวาสวัดประดู่ฉิมพลี เป็นพระใบฎีกาฐานานุกรมของพระอุดรคณารักษ์ วัดพระเชตุพนจนกระทั่งถึงพ.ศ 2521 เป็นพระราชาคณะชั้นราช พระราชวังหลวงปู่ท่าน เป็นผู้เยี่ยมในความสะอาดแห่งความประพฤติทั้งกายวาจาใจและเปี่ยมล้นด้วยจิต ซึ่งทรงไว้ด้วยคุณธรรมกล่าวคือ ศีลสมาธิปัญญาวิมุติและวิมุตติญาณทัสสนะ ตามลำดับเป็นลูกศิษย์พระตถาคตคู่งดงาม ด้วยความประพฤติทั้งภายนอก และภายในไม่มีที่ติ ท่านเป็นผู้รักสันโดษมีความเป็นอยู่ที่เรียกง่าย

ท่านเอาใจใส่ต่อความเป็นอยู่ของ พระภิกษุสามเณรอย่างใกล้ชิด ให้ความอนุเคราะห์สงเคราะห์ อย่างสมเหตุสมผลอย่างสม่ำเสมอ กิตติศักดิ์กิตติคุณฟุ้งขจรไปถึงไหนก็เกิด ความหอมหวล ชวนให้เคารพเลื่อมใส ในที่นั้นและในการประชุม เพื่ออบรมทำท่านก็เปิดโอกาส ให้ผู้คนสนใจถาม ปัญหาธรรมะอยู่เป็นประจำ ซึ่งนั่นก็ตอบอย่างกระจ่างแจ้งชัดถ้อยชัดคำ ไม่มีอ้ำอึ้งอย่างความกระจ่าง

ให้บังเกิดแก่ผู้ซักถามอย่างน่า อัศจรรย์แสดงให้เห็นว่าท่านเป็นผู้แตกต่าง ในธรรมโดยอาจจะโดย พยัญชนะหลวงปู่ท่านเป็นผู้เพียบ พร้อมด้วยอัปปัจจายนะทำมีความ อ่อนน้อมถ่อมตน ไม่ถือตัวในเรื่องนี้เป็นที่ประจักษ์ ชัดในครับมหาเถระ ชั้นผู้ใหญ่ซึ่งในครั้งนั้น ได้มีการไปมาหาสู่กันอยู่เสมอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสมเด็จ พระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชได้ ไปพบปะสนทนาธรรม กับหลวงปู่ตั้งแต่ครั้ง ที่ยังเป็นพระศาสนโสภณจนถึงกราบอาราธนาให้หลวงปู่ ไปสอนทำกรรมฐานบรรยายธรรม เป็นประจำที่วัดบวรนิเวศวิหารแต่หลวงปู่ท่านก็ยังคงอ่อนน้อมถ่อมตนทั้งที่พรรษายุค กลางชั้นมากกว่าหลวงปู่โต๊ะ ท่านมีอัธยาศัยงดงามดูภาพอ่อนโยน มากด้วยความเมตตากรุณายินดี สงเคราะห์อนุเคราะห์ผู้อื่นสัตว์อื่นโดยเสมอหน้าไม่เลือก ที่รักมักที่จังเป็นผู้ซื่อตรง ถ่อมตนยึดมั่นในระเบียบประเพณี และความกตัญญูกตเวที

เวลาทําธรรม

ทั้งมีความภักดี ในองค์พระมหากษัตริย์ และพระบรมราชวงศ์ อย่างแน่นแฟ้น ผู้ที่มีโอกาสได้เข้าใกล้คุ้นเคย ใกล้ชิดกับท่าน จะยืนยันในความที่กล่าวนี้ได้ทุกคนอีกประการ หนึ่งท่านหนึ่งคนขยันหมั่นเพียร และแน่วแน่ตั้งใจทำสิ่งใด แล้วเป็นต้องทำจนสำเร็จจิต ที่ท่านปฏิบัติเป็นมิตรในแต่ละวันจนตลอด ที่ของท่านก็คือเวลาตี 4 ตื่นขึ้นเจริญสมณธรรม 8:00 น นำพิสูจน์สามเณรทำวัดสวดมนต์ และเจริญวิปัสสนากรรมฐาน 14:00 น อนุเคราะห์สิทธิมาถวายสักการะบ้างที่มาขอบาร มีธรรมบ้างที่มาสนทนาธรรมบ้าง 18:00 น นั่งบำเพ็ญสมณธรรม

ไปจนกระทั่งถึง 20:00 น แล้วนำพิสูจน์สามเณรทำวัดถ้ำ ในระยะหลังท่านนั่งบำเพ็ญ สมณธรรมนานจนถึงเวลา 22:00 น หรือว่า อ่า 6 ทุ่มโดยไม่ย่อท้อต่อทุกขเวทนาที่เกิดขึ้นเนื่องจากความเสื่อมของสังขาร ในวันทำวันสวนะท่าน จะแสดงธรรม แก่พิสูจน์สามเณรอุบาสกอุบาสิกา เป็นประจำ แล้วทุกวันพฤหัสบดีจะมีภิกษุสามเณรจากวัดต่างๆ รวมทั้งผู้สนใจ ในการปฏิบัติธรรม มาขอฝึกปฏิบัติธรรมกรรมฐาน

ศึกษาวิชา

เป็นจำนวนมากนับว่า ท่านได้เป็นที่พึ่งที่ยึดเหนี่ยว อย่างยิ่งของคนทั่วไป หลวงปู่โต๊ะ ท่านสนใจศึกษาด้านวิปัสสนาธุระ มาตั้งแต่ยังเป็นสามเณรเท่าที่ทราบ ก็คือท่านศึกษากับ พระอาจารย์พรหมวัดประดู่ฉิมพลี ก่อนพระอาจารย์พรหมมรณภาพ แล้วจึงไปศึกษากับ หลวงพ่อรุ่งวัดท่ากระบือจังหวัดสมุทรสาคร ซึ่งหลวงปู่โต๊ะมีความชื่นชม และเคารพในความเก่งกล้า สามารถของหลวงพ่อรุ่ง เป็นอย่างยิ่งนอกจากนี้ หลวงปู่โต๊ะยังได้ไปเรียนวิชาอาคม กับหลวงพ่อเนียมวัดน้อย อำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี ก่อนหน้าที่หลวงพ่อเนียม จะมรณภาพในอีก 2-3 ปีต่อมาเสร็จแล้วก็ออกธุดงค์ ไปทางภาคเหนือหลายครั้ง ต่อมาจึงได้มารู้จักคุ้นเคย กับหลวงพ่อสด คือพระมงคลเทพมุนี วัดปากน้ำ

ซึ่งมีอายุแก่กว่าท่าน 4 ปีหลวงพ่อสดได้ชักชวนท่าน ให้ไปเรียนกับพระอาจารย์โหน่ง ที่วัดสุพรรณบุรี อีกระยะหนึ่งนอกจากนี้ แล้วหลวงปู่โต๊ะยังได้เรียนวิชาเพิ่มเติมจากพระอาจารย์อีกหลายท่าน อาทิเช่นหลวงพ่อพุ่ม วัดบางโพธิ์ยานนาวาแล้ว ก็อีกหลายพระอาจารย์ ที่มีชื่อเสียงในยุคนั้น หลังจากนั้นท่านก็กลับมาปฏิบัติจิต

โดยตัวของท่านเอง ที่วัดต่อมาแม้ว่า ท่านจะมีภารกิจในด้านบริหาร หมู่คณะและการ สงเคราะห์อนุเคราะห์ ผู้อื่นส่วนมากก็ตามท่าน ก็ไม่ได้ละเลยเพิกเฉยในส่วนวิปัสสนาวิปัสสนาธุระ ไม่คงขะมักเขม้นฝึกฝนอบรม ตามโอกาสอันควร ตลอดมาจึงปรากฏว่า ท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญในธุรกิจพระศาสนาส่วนนี้อยู่รูปหนึ่ง และโดยอาศัยที่เคยอบรมด้าน วิปัสสนาธุระมามากจึง ได้รับอาราธนาให้เข้าร่วม ในพิธีประสิทธิมงคลต่างๆแทบทุกงานทั้งในกรุงและหัวเมือง ตลอดจนถึงต่างประเทศ เมื่อครั้งหลวงปู่โต๊ะ เริ่มได้รับนิมนต์ เข้าร่วมพิธีพุทธาภิเษกใหม่ๆ นั้นท่านได้เล่าให้ลูกศิษย์ของท่านฟังว่า

เวลาที่ท่านจับสายสิญจน์ในพิธีท่าน จะรู้ได้ทันทีว่าในพิธีนี้มีพระอาจารย์ องค์ไหนเก่งหลังจากนั้นหลวงปู่ ก็จะติดตามไปเรียนวิชาแล้วก็ศึกษาเพิ่มเติมจากพระอาจารย์องค์ นั้นตอนที่หลวงปู่โต๊ะ เป็นเจ้าอาวาสใหม่ๆนั้นท่าน ไม่ค่อยจะได้อยู่ที่วัดในช่วง ออกพรรษาท่านมักจะออกธุดงค์ไปยังสถานที่ต่างๆ บางครั้งก็หายเข้าไปในป่าลึกนานๆ หลวงปู่ได้เดินธุดงค์ ไปถึงทางภาคใต้ได้จำพรรษา อยู่ที่วัดแห่งหนึ่งที่ จังหวัดปัตตานีท่านยังธุดงค์ไปถึงทางภาคเหนือ ไปนมัสการพระพุทธบาทสี่รอย และพระบรมสารีริกธาตุอีกหลายครั้ง ได้จำพรรษาอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่และได้ศึกษาวิปัสสนากรรมฐานและวิชาอาคมต่างๆจากพระอาจารย์หลายอาจารย์ด้วยกันหลวงปู่โต๊ะท่านไม่ชอบความอึกทึกครึกโครมเพราะท่านเป็นพระฝ่ายวิปัสสนากรรมฐาน

ท่านชอบเก็บตัวเงียบๆอยู่ภายในกุฏิบางครั้งท่าน จะออกจากวัดประดู่ฉิมพลีแล้ว เดินลัดสวนผ่านหน้าวัดสังกัจจายน์ไปยังวัดหงส์รัตนารามบางกอกใหญ่คณะ 5 เพื่อสนทนาธรรมแล้วก็แลกเปลี่ยนวิชาอาคม กับสหธรรมิกอาทิเช่นพระครูพรหมญาณวินิต หรือว่าหลวงพ่อกล้ายพระครูญาณสิทธิ์เชื้อ

หลวงพ่อแฉ่งวัดบางพังและพระพันโทหลวงจำรัส ต่อมาระยะหลังหลวงพ่อใกล้ ได้สร้างคณะและขอสวดมนต์ทำไม่มีผู้คนพลุกพล่านมาก หลวงปู่ก็เลยไม่ได้ไปที่นั่นอีกท่าน เห็นว่าที่กุฏิ ท่านเจ้าคุณพระเทพวิสุทธิเมธีเจียวัดพระเชตุพน หรือว่าวัดโพธิ์ท่าเตียน เป็นสถานที่เงียบสงบดี หลวงปู่จึงมักไปที่นั่นเสมอ

ท่านมีสถานที่บำเพ็ญธรรมของท่านอีก 2 แห่งคือที่สำนักสงฆ์ถ้ำสิงโตทอง แห่งนึงแล้วก็ที่วัดพระธาตุ สบขวางอำเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ซึ่งท่านไปสร้างกุฏิไว้แห่งหนึ่งที่วัดพระธาตุ สบฝางท่านไม่ค่อยจะได้ไปถึงจะไม่กล่าว ถึงจะกล่าวถึงถ้ำสิงโตทอง แต่เพียงแห่งเดียวคือเมื่อปีพ.ศ 2519 ท่านได้เดินทางไป จังหวัดกาญจนบุรี และได้ไปพบกับพระมานิตย์ เช่าพระมานิตย์พูดกับท่าน ถึงถ้ำสิงโตทองที่อำเภอจอมบึงจังหวัดราชบุรีและชวนให้ ท่านไปชมหลังจากนั้นท่าน ก็มีโอกาสได้ไปแล้วก็ไปเห็นว่า สถานที่นั้นเป็นที่สงบ สมควรแก่นักปฏิบัติธรรม

ตังค์ก็อยู่ไม่ห่างไกลจากกรุงเทพฯ มากนักท่านจึงไปอยู่ปฏิบัติธรรม ที่ถ้ำสิงโตทองเป็นครั้งแรกเมื่อพ.ศ 2510 แล้วเริ่มปรับปรุงให้มีความสะดวกเหมาะสมที่จะตั้งเป็น สำนักปฏิบัติธรรม คือได้สร้างกุฏิสำหรับท่านพักหลัง หนึ่งมีกุฏิเล็กๆอีกหลายหลังตามไหล่เขาข้างถ้ำสิงโตทองพร้อมทั้งโรงครัวและที่พักสำหรับ ลูกศิษย์ที่ประสงค์ จะติดตามไปครั้งแรมหาความสงบสุข อยู่กับท่านท่านได้สร้าง

พระพุทธบาทจำลองพระพุทธรูปแบบต่างๆปางต่างๆเช่น แบบพระพุทธชินราช พระปางลีลาปางมารวิชัย กับรูปเจ้าแม่กวนอิม เชิญไปไว้ที่ถ้ำในบริเวณใกล้ๆกันนั้นขึ้นอีกหลายแห่งได้เชิญพระพุทธรูปที่มีผู้ศรัทธาสร้างถวาย ไปประดิษฐานไว้ให้สักการะกัน

ข้างหลังที่สุดท่านใด สร้างรูปพระมหากัจจายนะนำ ไปประดิษฐานไว้ที่หน้าถ้ำกลาง ต่อมาถึงปีพ.ศ 2519 ถ้ามานิตย์ซึ่งรับหน้า ที่ดูแลถ้ำสิงโตทองมรณภาพลงท่านได้ส่งพระรูปอื่นไปดูแลแทน ได้มีผู้คนถวาย ที่ดินเพิ่มให้อีกท่านจึงวางโครงการก่อสร้างให้เพิ่มเติมอีกจะสร้างโบสถ์ศาลาการเปรียญกุฏิโรงเรียนเด็กสำหรับลูกชาวไร่ สระน้ำพร้อมกันซื้อ ที่บริเวณหน้าถ้ำเดิมอีก 9 ถึง10 ไร่เศษรวมกับเนื้อที่เดิมเป็น 140 ไร่ทำถนนเชื่อมต่อกับถนนส่วนใหญ่ ให้เป็นทางเข้าออก ที่สะดวกองค์ท่านควบคุม ดูแลการดำเนินงานนี้อย่างใกล้ชิด

การสร้างพระเครื่อง

ที่นี่มาถึงประวัติการสร้างพระเครื่องของหลวงปู่โต๊ะครับเกี่ยวกับประวัติในการสร้างพระเครื่องของท่านนั้นพระเครื่องชุดแรกสุดของท่านจะมีทั้งหมด 13 พิมพ์ด้วยกันเช่นพระสมเด็จ 3 ชั้นพิมพ์ขาโต๊ะสมเด็จพระพิมพ์ 7 ชั้นแล้วก็พระสมเด็จสามชั้นพิมพ์หูบายศรีเป็นต้นพระเครื่องทั้ง 13 พิมพ์นี้หลวงปู่โต๊ะได้ลงมือสร้างด้วยความตั้งใจและปรารถนาจะให้ขลังเป็นพิเศษโดยพยายามเสาะหาวัตถุอันเป็นมงคลและอาถรรพ์เวชต่างๆ

ที่มีความขลังความศักดิ์สิทธิ์มาทำแล้วก็กดพิมพ์ด้วยมือของท่านเองเป็นส่วนใหญ่เพราะว่าหลวงปู่ได้พูดช่วยทำงานซึ่งเป็นอาสาสมัครอันประกอบด้วยพระเณรแหละฆราวาสมาจากวัดบางพลัดบางกอกใหญ่คอยแนะนำส่วนผสมและวิธีการสร้างพระเครื่องต่างๆผงพุทธคุณที่หลวงปู่ได้กล่าวหามาผสม ในการสร้างพระเครื่องชุดแรกนี้มีผงวิเศษที่จัดเป็นแม่เชื้อของผงทั้งหมดโดยในยุคที่หลวงปู่ออกธุดงค์บ่อยๆนั้นหลวงปู่ได้เคยไปธุดงค์ด้วยกันกับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำภาษีเจริญ

และหลวงพ่ออีกองค์นึงซึ่งจำชื่อและความเป็นมาไม่ชัดเจนเมื่อท่านได้กลับมาอยู่ที่วัดประดู่ฉิมพลีแล้วท่านทั้งสามก็ได้ทบทวนวิชาที่ได้เล่าเรียนกันมาก็ได้ผลลัพธ์ออกมาคล้ายกันต่างจึงตกลงที่จะเขียนสูตรผงนั้นโดยใช้ดินสอพองมาละลายน้ำมนต์แล้วปั้นเป็นแท่งเหมือนกับช็อคแล้วก็เอาใบตำลึงมาตำคั้นน้ำมาทาแท่งดิน

และพองเวลาจับจะได้ไม่ติดมือจากนั้นก็ลงมือเขียนตามอักขระเลขยันต์จากพระธรรมมังตรีนี้สิงเหอิทธิเจและมหาราชว่าไปจนครบสูตรจะเว้นไม่ได้หากขาดไปวันนึงก็ต้องเอาผงที่เขียนไว้แล้วมารวมกันแล้วเขียนขึ้นมาใหม่ทำทุกวันกันต่อ อบบตกันไปจนครบสูตร

เมื่อเขียนเสร็จได้เท่าไหร่ต่างองค์ต่างก็จะแบ่งขึ้นมาเป็น 3 กองโดยต่างองค์ก็จะมอบให้แก่กันองค์ละกองแล้วจึงเอาผงทั้งหมดมาผสมรวมกันผงที่สร้างขึ้นมานี้ก็จะเป็นสีขาวเรื่อๆเล็กน้อยนวลละเอียดมีพุทธคุณทางเมตตาและทางด้านอื่นๆอีกสูงมากผงวิเศษที่สร้างขึ้นมานี้ก็คือผงวิเศษที่ลูกศิษย์ของท่านได้เรียกกันว่าผมอิทธิเจส่วนผสมผงทั้งหมดที่ได้มานั้นมีของวัดครับมากที่สุดซึ่งเป็นพระวัดพลับที่ชำรุดแตกหักจากคราวกรุงแตกนอกจากนี้ยังได้มวลสารสำคัญคือผมจากพระสมเด็จวัดระฆังธนบุรีจำนวนเล็กน้อย

ซึ่งเป็นของฆราวาสบ้านอยู่ใกล้ๆกับวัดระฆังวิธีการแช่พระเครื่องในตุ่มน้ำมนต์หลวงปู่โต๊ะด้วยความประสงค์ที่จะให้พระเครื่องของท่านมีความขลังและดูหน้าบูชาท่านจะเอาพระเครื่องเหล่านี้ไปแช่น้ำมนต์ในตุ่มมังกรซึ่งตั้งอยู่ในโบสถ์แล้วก็ปลุกเสกตลอดพรรษาวิธีการแช่พระเครื่องในตุ่มน้ำมนต์ของหลวงปู่โต๊ะนั้นลูกศิษย์หลวงปู่ท่านหนึ่งได้เล่าให้ฟังว่าตุ่มมังกรที่ใช้ใส่น้ำมนต์นั้นมีอยู่ด้วยกันหลายใบมีขนาดแตกต่างกันเล็กบ้างใหญ่บ้างบางกลุ่มก็จะมีดินมีทรายปะปนอยู่ด้วยและในระหว่างนั้นถ้าหากว่ามีใครเอาพวงมาลัยดอกไม้สดมาถวายแด่หลวงปู่ท่านก็จะเอาพวงมาลัยนั้นใส่ลงไปในตุ่มมังกรน้ำมนต์นั้นด้วย

ละสังขาร

เบื้องปลายชีวิตหลวงปู่โต๊ะ หรือว่าพระราชสังวราภิมณฑ์อยู่ในสมณเพศมาตั้งแต่อายุได้ 17 ปีท่านเล่าเรียนพระธรรมวินัย มีความรู้แตกฉานลึกซึ้งและถือเป็นวิปัสสนาธุระเป็นหลักเป็นหลัก ปฏิบัติในชีวิตอันยาว นานถึง 94 ปีของท่านเป็นรัฐตัญญูผู้รู้การนานๆ เป็นครูของสาธุชนทุกหมู่เหล่าเป็นที่เคารพบูชาศรัทธาเลื่อมใสของบุคคล ทุกเพศทุกวัยทุกชาติ ชั้นนับตั้งแต่สามัญบุคคลจนถึง องค์พระประมุขของชาติ แม้อายุพรรษาจะมากเพียงใด ท่านก็ไม่ได้ขัดศรัทธา ของผู้ที่อาราธนาไปในการบุญการกุศลต่างๆ มีการไปนั่งเจริญ สมาธิภาวนาอำนวยศิริมงคลเป็นต้น จึงในระยะหลังๆนี้ ทำให้สังขารร่างกายท่านแย่ลงมากเกินไป แล้วก็เกิดอาพาธขึ้นบ่อยๆ แม้จะได้รับการเยียวยารักษา และดูแลพยาบาล อย่างดีเพียงใดกาย สังขารทั้งท่านก็ทน อยู่ไม่ไหวท่านอาพาธ ครั้งสุดท้ายในเดือน กุมภาพันธ์ปี 2524 หลังจากกลับจากถ้ำสิงโตทอง มีอาการอ่อนเพลียลงตามลำดับก่อนมรณภาพ 7 วันท่านลุกจากเตียงไม่ได้เลย แต่ยังพอฉัน ได้บ้างนายแพทย์

ต้องให้น้ำเกลือ ทุกวันอาหารนั้น ถวายข้าวต้ม กับรังนกตุ๋นทุกเช้าราว 7:00 น ถึงวันที่ 5 มีนาคมเวลาเช้า 10 ผู้พยาบาลก็ถวายข้าวต้ม กับรังนกอีกคราวนี้สังเกต เห็นว่าแขนข้างขวา ท่านบวมก็กราบเรียนกับท่านว่าแขน หลวงปู่บวมมากขอรับท่าน ก็พยักหน้ารับคำแล้วก็ฉันแล้วก็หลับตาพักต่อไป โดยให้ออกซิเจนช่วย การหายใจตลอดเวลา 9:00 น ท่านอ่อนแรงลง อีกแล้วพอถึงเวลา 9:55 น ท่านก็สิ้นลม ด้วยอาการสงบนอนหลับไปณกุฏิสายหยุดนับอายุได้ 93 ปี 10 เดือนกับ 22 วันขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ แปลพระราชฐานไปประทับณพระตำหนักภูพิงค์ราชนิเวศน์ควรทราบ ว่าละอองธุลีพระบาทแล้ว ก็ทรงพระกรุณาโปรดให้เชิญศพ ไปตั้งที่ศาลา 100 ปีวัดเบญจมบพิตรพระราชทานเกียรติยศสอบเป็นพิเศษเสมอ พระราชาคณะชั้นทำพระราชทานกรวด โถบรรจุศพพร้อมฉาบเบญจา เครื่องประกอบเกียรติยศ ครบทุกประการ

By editor

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *